บทความนี้ Copy มาจากคุณ Doungchampa Spencer Isenberg
หน้า link บทความ https://www.facebook.com/photo.php?fbid=678841552212747&set=a.116248598472048.20984.100002607261570&type=1
บทความแปล: องค์กร ALS จะต้องทำอย่างไรกับเงินบริจ าคจำนวน $94 ล้านเหรียญ
(อ้างอิง: Life After Ice Buckets: ALS Group Faces $94 Million Challenge - http://www.npr.org/blogs/ health/2014/08/27/ 343733139/ life-after-ice-buckets-als- group-faces-94-million-cha llenge)
“คำท้าราดน้ำแข็ง” (Ice Bucket Challenge – อ้างอิง: http://www.npr.org/2014/ 08/23/342652065/ weekend-host-accepts-ice-bu cket-challenge) เกี่ยวกับโรค ALS (Amyotrophic Lateral Sclerosis) หรือโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง กำลังเป็นเรื่องที่นำมาสู่ก ารบริจาคเพื่อการกุศลอย่างม โหฬารในช่วงฤดูร้อน เพื่อพยายามที่จะหาหนทางบำบ ัดรักษาเกี่ยวกับโรคที่รู้จ ักกันในนามของ โรคลู เกห์ริก (Lou Gehrig’s Disease – อ้างอิง: http://www.alsa.org/ about-als/what-is-als.html) และจวบจนกระทั่งถึงวันนี้ การรณรงค์ที่แพร่กระจายกันอ ย่างไฟลามทุ่ง ได้นำเงินบริจาคเข้ามาให้กั บองค์กร ALS เป็นจำนวนมากกว่า 94 ล้านเหรียญสหรัฐ (3,055 ล้านบาท) นั่นคือการเปรียบเทียบกับจำ นวนเงินบริจาคที่หาได้จากกา รทำงานขององค์กรในเวลาเดียว กันเมื่อปีที่แล้ว ซึ่งหาเงินได้เป็นจำนวน $2.7 ล้านเหรียญ (87.75 ล้านบาท)
ในปัจจุบัน ทางองค์กรกำลังเผชิญหน้ากับ การท้าทายกับตัวขององค์กรเอ ง ในการพิจารณาว่า หนทางใดจะเป็นหนทางที่ดีที่ สุดต่อการทำการจับจ่ายใช้สอ ยกับเงินจำนวนมหาศาลเหล่านี ้
“มันเป็นเรื่องที่น่ามหัศจร รย์เป็นอย่างยิ่ง และบางทีมันถึงกับขั้นที่มี ความรู้สึกท่วมท้นทางจิตใจข ึ้นมานิดหน่อย” กล่าวโดยคุณบาบาร่า นิวเฮ้าส์ (Barbara Newhouse) ซึ่งเป็นประธานใหญ่และประธา นเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารของอ งค์กร
เธอกล่าวว่า มันเป็นความรับผิดชอบอันใหญ ่หลวง ในการดำเนินการกับเงินบริจา ค ที่ทางกลุ่มไม่เคยได้รับมาเ ป็นจำนวนมากมายแบบนี้มาก่อน
“ดูไปแล้ว มันก็เหมือนกับคนที่ถูกลีอต เตอรี่ซึ่งได้รับเงินมาเป็น จำนวนมาก และหลังจากนั้นอีกสี่ปี ตัวก็มองดูตัวเองในกระจกเงา แล้วก็พูดว่า “ฉันทำอะไรลงไปกับเงินก้อนน ั้น? แล้วเงินเหล่านั้นมันไปอยู่ ที่ไหนในตอนนี้?” เธอกล่าว “เราไม่ต้องการให้เหมือนเป็ นแบบคนที่ถูกล๊อตเตอรี่ แต่เราต้องการนำเอาเงินเหล่ านี้ไปใช้ และวางแผนพิจารณากันอย่างรั ดกุมรอบคอบและแน่ชัดที่สุดว ่า เราจะนำมันไปจับจ่ายใข้สอยก ันอย่างไรบ้าง.”
คุณ Newhouse กล่าวว่า ทางกลุ่มได้เริ่มการปรึกษาห ารือกับผู้ทำการประสานงาน, อาสาสมัครและองค์กรย่อย 38 แห่งที่กระจัดกระจายกันอยู่ ทั่วประเทศว่า จะนำเอาเงินจำนวนนี้ไปใช้จ่ ายอย่างไร เธอกล่าวถึงการเน้นเกี่ยวกั บการขยายงานที่ทางกลุ่มได้ก ระทำกันอยู่ในปัจจุบัน – คือการให้ทุนกับการค้นคว้าว ิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ (Scientific Research – อ้างอิง: http://www.npr.org/2014/ 08/20/341958763/ the-momentum-of-the-ice-buc ket-challenge-and-what-it- means-for-als) ด้วยการให้การดูแลรักษาและใ ห้คำปรึกษาแนะนำกับผู้ป่วยโ รค ALS และสมาชิกในครอบครัวของพวกเ ขา รวมทั้งกุล่มของผู้ให้การสน ับสนุน (Advocacy) ข้อเสนอขององค์กรจะถูกนำมาป รึกษาหารือกันในการประชุมบอ ร์
ดคณะกรรมาธิการ (Board of Trustees) ในเดือนตุลาคม และเธอกล่าวว่า
หลังจากนั้น การตัดสินใจต่างๆ จะกระทำกัน – ด้วยความระมัดระวังเป็นอย่า งยิ่ง
“มันไม่ใช่เกี่ยวกับการใช้จ ่ายเงินอย่างรวดเร็ว แต่มันเป็นเรื่องของการใช้จ ่ายเงินอย่างรอบคอบต่างหาก” เธอกล่าว
คุณเคน เบอร์เกอร์ (Ken Berger – อ้างอิง: http:// www.kenscommentary.org/) เห็นด้วยในเรื่องนี้ พร้อมกับเสนอข้อพึงระวังอยู ่นิดหน่อย เขาเป็นประธานของบริษัทและป ระธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร ขององค์กร Charity Navigator (อ้างอิง: http:// www.charitynavigator.org/) ซึ่งทำการประเมินและวิเคราะ ห์องค์การการกุศลต่างๆ ในประเทศสหรัฐอเมริกา กลุ่มของเขาให้การประเมินค่ าขององค์กร ALS นี้ให้อยู่ในระดับ 4 ดาว ซึ่งเป็นระดับสูงที่สุดของก ารประเมิน แต่คุณ Berger ยังกล่าวว่า ทางการกุศลของ ALS นั้น ต้องเผชิญหน้ากับการสร้างคว ามสมดุลอย่างหนัก – เพราะจะต้องใช้เงินทำการลงท ุนเป็นอย่างดี แต่จะต้องไม่ให้เงินไปนอนอย ู่เฉยๆ
เป็นเวลานานจนเกินไป เขากล่าวว่า ผู้บริจาคเงินส่วนมาก
ให้ความคาดหวังกันว่า เงินที่พวกเขามอบให้นั้น จะนำไปใช้กันอย่างทันท่วงที
“คุณจะเห็นสถานการณ์ในเรื่อ งของ องค์กรการกุศลต่างๆ นั้น มีเงินสะสมอยู่เป็นจำนวนมาก เมื่อพวกเขาอยู่ในเหตุการณ์ ที่เงินทอง ต่างๆ ไหลมาเทมาแบบนี้กัน และผู้บริจาคก็ต่างเริ่มเกิ ดอารมณ์ขุ่นเคืองกันเกี่ยวก ับเรื่องนี้” คุณ Berger กล่าว “เนื่องจากว่า การคาดหวังของผู้บริจาคนั้น คือ : ปัญหามันเป็นอยู่ในเวลานี้ ความต้องการก็ต้องเกิดขึ้น ณ บัดนี้ และทางองค์กรเองก็ควรที่จะก ้าวออกมาและให้การบริการเพิ ่มขึ้นอย่างให้เราเริ่มเห็น กันบ้างเสียที”
ตัวเขาและคนอื่นๆ จำได้ในเรื่อง ที่ว่า มันมีอะไรเกิดขึ้นบ้างกับผู ้บริจาคที่บันดาลโทสะขึ้นมา (Outraged Donors – อ้างอิง: http://www.npr.org/ templates/story/ story.php?storyId=4957400) เมื่อองค์กรกาชาดสหรัฐอเมริ กา ได้รับเงินบริจาคเป็นจำนวนน ับล้านดอลล่าร์ หลังจากเกิดเหตุการณ์ที่ผู้ ก่อการร้ายโจมตีสถานที่ต่าง ๆ ในวันที่ 11 กันยายน (2544) และหลังจากนั้น ก็ปลีกเอา เงินจำนวนส่วนหนึ่งที่ได้รั บจากการบริจาค มาปฎิบัติการให้กับเรื่องอื ่นๆ แทน
คุณ Berger กล่าวว่า ไม่ว่าทางองค์กรจะทำการตัดส ินใจอย่างไรก็ตาม ทางองค์กร ALS เองก็จะต้องแชร์แผนการต่างๆ ให้ทราบอย่างเร็วที่สุดเท่า ที่จะเป็นไปได้ เพื่อสาธารณชนจะได้ทราบว่า ควรจะคาดหวังอะไรกันได้บ้าง (Know what to expect – อ้างอิง: http://www.npr.org/ templates/story/ story.php?storyId=122777079)
คุณแพทริก รูนี่ย์ (Patrick Rooney – อ้างอิง: http:// www.philanthropy.iupui.edu/ our-staff/person/ patrick-rooney ) ซึ่งเป็นรองคณบดีของคณะการท ำบุญสุนทานของมหาวิทยาลัยอิ นเดียน่า (Associate Dean at Indiana University’s School of Philanthropy) กล่าวว่า เขาคิดว่า ผู้บริจาคเงินส่วนใหญ่เข้าใ จว่า การบำบัดรักษาโรคที่เกี่ยวก ับทางประสาท (Neurodegenerative Disease) อย่างเช่นโรค ALS นั้น คือ การลงทุนในระยะยาว (A Long-Term Investment – อ้างอิง: http://www.npr.org/2014/ 08/20/341958763/ the-momentum-of-the-ice-buc ket-challenge-and-what-it- means-for-als) แต่เขาเตือนว่า “ทุกๆ คนกำลังจ้องมองเรื่องนี้อยู ่ ดังนั้น หนึ่งปีหลังจากวันนี้ ผู้คนก็จะเริ่มถามว่า ‘เงินเหล่านี้ไปไหน และ ทางสังคมจะได้รับอะไรกลับมา กับการลงทุนในเรื่องนี้ไปแล ้วบ้าง?’ “
คุณ Newhouse กล่าวว่า เธอตระหนักทราบดีในเรื่องเห ล่านี้ทั้งหมด และเธอก็ได้รับคำแนะนำอย่าง ล้นหลาม เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
“ดิฉันได้รับอีเมล์ จากทุกๆ เรื่อง ตั้งแต่การเสนอแนะนำให้ ‘ใช้เงินด้วยวิธีนี้นะ’ จนไปถึงอีเมล์ที่กล่าวว่า ‘ใจเย็นๆ ทำด้วยวิธีที่ถูกต้องเถอะ’ จนถึงผู้คนที่กล่าวว่า ‘ฉันพบวิธีการรักษาโรค ALS ให้หายอย่างเด็ดขาดแล้วนะ เพียงแต่จ่ายเงินให้กับฉัน และฉันก็จะบอกวิธีรักษาโรคน ี้ให้กับคุณเอง’ ใช่แล้วล่ะค่ะ ดิฉันได้รับเรื่องแบบนี้เข้ ามาทั้งหมดเลย” คุณ Newhouse กล่าวในตอนท้ายสุด
อย่างไรก็ตาม เธอยอมรับว่า สำหรับบุคคลที่ทำการบริหารอ งค์กรการกุศลนั้น มันยังต้องเผชิญกับปัญหาที่ แย่กว่าเก่าๆ อยู่อีกเช่นกัน...
************************** **********************
ความคิดเห็นของผู้แปล:
(เชิญแชร์บทความได้ตามสบาย)
เวลานี้ เราจะเห็นเรื่องของการท้ารา ดน้ำแข็ง หรือ Ice Bucket Challenge เต็มไปหมด ไม่ว่าจะเป็นคนต่างประเทศหร ือคนไทย ทุกๆ คนต่างเห็นว่าเป็นเรื่องที่ ดีงาม แต่มีใครบ้างที่จะคิดถึงเรื ่องปลีกย่อยแบบนี้
เรื่องแรกที่เห็นคือ เงินบริจาคต่างๆ ที่ผู้มีจิตศรัทธา มอบให้กับองค์กร สิ่งที่ดิฉันได้เห็นนั้น ไม่ใช่แต่เพียงเงินบริจาคเข ้าองค์กรอย่างเดียว แต่ได้เห็นถึงความรับผิดชอบ ของผู้นำองค์กรว่า ควรจะนำเงินเหล่านี้ไปใช้อย ่างไรบ้าง จะมีการ Layout แผนการต่างๆ ให้ประชาชนได้ทราบกันเป็นระ ยะๆ
องค์กร ALS เอง มีเครือข่ายสาขาอีกเกือบ 40 แห่งทั่วทั้งประเทศ ดังนั้น การประชุมต่างๆ จึงต้องมีความระมัดระวัง รวมทั้งขั้นตอนการอนุมัติทำ การใช้จ่ายเงินจำนวนเหล่านี ้
นอกจากนั้น ยังมีองค์กรอีกองค์กรหนึ่ง อย่างเช่น Charity Navigator ซึ่งทำการตรวจสอบความโปร่งใ สขององค์กรการกุศลอีกด้วย และทำการประเมินว่า เป็นองค์กรการกุศลที่ควรต่อ การยกย่องหรือไม่ (คือไม่ใช่ องค์กรเถื่อน สร้างขึ้นมาขอบริจาคเงินกัน ) พวกนี้ จะตรวจสอบอีกระดับหนึ่ง ถึงความพึงพอใจของผู้บริจาค รวมไปทั้ง ผลงานและกิจกรรมขององค์กรที ่ได้รับเงินเหล่านั้นอีกด้ว ย
เราจะเห็นว่า องค์กรการกุศลใน USA นั้น จะถูกเพ่งเล็งจากหลายองค์กร
ส่วนองค์กรใหญ่ๆ ก็คือ องค์กรเพื่อการตรวจสอบ, สรรพากร (Internal Revenue
Service หรือ IRS) เนื่องจาก องค์กรเหล่านี้ จะได้รับการลดหย่อนภาษีเพรา ะไม่ได้เป็นผู้ค้ากำไร และประชาชนอย่างเราๆ ท่านๆ ที่สามารถขอร้องให้มีการตรว จสอบการใช้เงินได้
การโกงเงินบริจาค มันถึงยาก เนื่องจากว่า ถูกตรวจสอบเยอะ และผู้บริจาคเขาก็อยากเห็นผ ลงานด้วย ว่า เอาเงินของเขาไปทำอะไรกันบ้ าง
************************** **********************
ถ้าเราจะนำเรื่องการบริจาคใ นเรื่องของ ALS มาเทียบกับในประเทศไทย เราจะเห็นได้ว่า การบริจาคของดารา นักแสดง และผู้มีชื่อเสียงในสังคมไท ย ต่างบริจาคเข้าไปในกองทุน ชื่อว่า “กองทุน ALS “ ตามที่อ่านข่าวประกอบนั้น “กองทุน ALS” นั้น เป็นส่วนหนึ่งของสถาบันชื่อ สถาบันประสาทวิทยา หรือ Prasat Neurological Institute ของกระทรวงสาธารณสุข เพราะเห็นใช้ชื่อ http://pni.go.th/pnigoth/ ?page_id=6266 นี้อยู่
ที่แปลกนิดหน่อยคือ “กองทุน ALS” นี้ เพิ่งจัดตั้งขึ้นมา เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2557 นี้เอง (อ้างอิง: http://www.thairath.co.th/ content/444836) ไม่ใช่กองทุนดั้งเดิมแต่อย่ างใด เหมือนสร้างขึ้นมาเพื่อรับต ่อกระแสในเรื่อง ALS จริงๆ
แต่เรื่องการตรวจสอบเพื่อคว ามโปร่งใสนั้น แทบจะทำไม่ได้เลยว่า เงินเหล่านี้ บริจาครับเข้ามาเท่าไรแล้ว และตัวผู้บริหาร จะออกมาแจ้งให้ผู้คนได้ทราบ หรือไม่ว่า จะเอาเงินเหล่านี้ไปทำอะไรบ ้าง (ตอนนี้ ข่าวออกมาว่า ยอดบริจาคได้เพิ่มจำนวนขึ้น มาถึงประมาณ 5 ล้านบาทแล้ว - อ้างอิง: http://crime.tnews.co.th/ content/103792/)
(แม้แต่เคสของ พระองค์ภาเอง ก็ทรงรับการท้าทาย แต่การบริจาคนั้น ทรงมีพระประสงค์ให้ไปอยู่ที ่ มูลนิธิของโรงพยาบาลศิริราช แทน (อ้างอิง: http://news.mthai.com/ general-news/377364.html) )
************************** **********************
อยากให้ประชาชนทั่วไป เริ่มเคลื่อนไหว จับตาการให้เงินบริจาคเหล่า นี้
กันบ้าง ไม่ใช่ว่า อยู่ๆ คิดว่า เอ้อ ให้แล้ว ถือว่า ทำบุญทำทานไป
จากนั้นก็เลิกให้ความสนใจ เรื่องแบบนี่แหละ คือต้นตอของการทุจริตอย่างใ หญ่หลวง ด้วยการคิดว่า ทำบุญเสร็จ เขาจะเอาไปใช้อะไรก็เรื่องข องเขา แต่ท่านทราบหรือเปล่าว่า มันจะเป็นประโยชน์กับผู้ป่ว ยโรคนี้มากน้อยขนาดไหน?
บางท่านยังคิดว่า ไม่มีใครกล้าเอาเงินทำบุญไป ทำอะไรแย่ๆ หรอก เพราะมันเป็นบาป จริงไหมคะ? อย่างนั้น ก็ไม่มีการตรวจสอบใดๆ เกิดขึ้น ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมเนียม ของผู้รับ จะเอาไปใช้อะไรก็เชิญตามสบา ย
องค์กรการกุศลทุกองค์กร มีค่าใช้จ่ายเช่นกัน เราเรียกเรื่องเหล่านี้ว่า Administrative Expenses หรือค่าใช้จ่ายต่อการบริหาร กองทุน ถ้าสมมติว่า ได้รับเงินบริจาคมา 5 ล้านบาท ท่านจะมี Administrative Expenses เท่าไร และมันจะหลุดไปถึงผู้ป่วยมา กน้อยขนาดไหนบ้าง?
คนไทยโดยทั่วไป ก็คุ้นเคยกับการบริจาคเพื่อ ช่วยเหลือเป็นการกุศล อย่างเช่น การบริจาคเข้าสภากาชาด บริจาคช่วยบุคคลผู้ประสบภัย พิบัติ ฯลฯ
แต่ท่านเคยเห็น องค์กรการกุศล (ส่วนใหญ่) ที่ไหนบ้าง ที่เอางบดุลหรือ Statement มาเปิดเผยให้เห็นถึงความโปร ่งใส
ว่า นำไปใช้จ่ายอะไร ได้รับเงินบริจาคกันเท่าไร ส่วนใหญ่จะปิดบังทั้งหมด
และที่แน่ใจคือ องค์กรการกุศลเหล่านี้ กลับมา Administrative Expenses
สูงมากๆ และบางแห่งนั้น มากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์เสียด้วยซ้ำไป
ซึ่งก็สงสัยเหมือนกันว่า มันเป็นการกุศลประเภทไหนที่ มีค่าใช้จ่ายสูงกันมากมาย ที่เป็นอย่างนี้ ก็เพราะว่า ไม่มีระบบการตรวจสอบ หรือ มีคนกล้าที่ขอให้มีการตรวจส อบนั่นเอง
************************** **********************
มันเหมือนกับการบริจาคเงินท ั่วไป คือ เงินหายไปไหน เอาเงินไปทำอะไรกันบ้าง เราจะเห็นเรื่องนี้เกิดขึ้น กับประชาชนที่มีส่วนร่วมทาง การเมืองทั้งสิ้น (เราก็เห็นข่าวกันหลายครั้ง ที่ การรับบริจาคทานในบางวัด ยังสามารถสะสมทรัพย์สินได้เ ป็นจำนวนมากมายหลายล้านๆ บาทไม่ใช่หรือ?)
ถ้าโยงเรื่องนี้มาในการเคลื ่อนไหวทางการเมือง ไม่ว่าท่านจะเป็นผู้สนับสนุ นฝ่าย กปปส หรือ สนับสนุนฝ่าย นปช ก็ตาม เงินที่นำไปบริจาคเป็นจำนวน ล้านๆ บาทนั้น สามารถถูกตรวจสอบได้หรือไม่ ? มีการนำมาใช้จ่ายกันอย่างไร บ้าง? มีใครกล้าชี้แจงในเรื่องนี้ หรือเปล่า? นี่คือสิ่งที่เรามองไม่เห็น กันในประเทศไทย นั่นคือ เห็นหน้าก็ตอนแบมือขอ แต่พอได้ไปแล้ว ก็สาบสูญ ไม่ทราบกันเลยว่า เงินเดินทางไปไหน มันไปถึงวัตถุประสงค์ที่กล่ าวไว้ในเรื่องการกุศลหรือเป ล่า
เหมือนกับว่า บริจาคแล้ว เท่านั้นเท่านี้ เป็นข่าว ถ่ายรูปทำ Photo Ops เสร็จ ก็ไม่ต้องสนใจว่า เขาเอาเงินที่ท่านบริจาคไปท ำอะไรกันบ้าง
************************** **********************
ดังนั้น ควรจะมารณรงค์กันถึงเรื่อง “ความโปร่งใส” เกี่ยวกับ เงินบริจาคกัน คงจะดีไม่น้อย และสร้างมาตรฐานตัวอย่างให้ เทียบ
เท่ากับระดับสากล ที่มีการตรวจสอบ รายรับ และรายจ่ายได้ จะอ้างว่า
เป็นความลับ มันก็กระไรอยู่ เพราะเงินบริจาค ไม่ควรที่จะมีเรื่องลับลมคม ในแต่อย่างใดทั้งสิ้น เพราะถ้ารับไปแล้ว ก็ควรจะแสดงว่า ทำอะไรไปบ้าง จริงไหมคะ?
Happy Friday ค่ะ
Doungchampa Spencer Isenberg
(อ้างอิง: Life After Ice Buckets: ALS Group Faces $94 Million Challenge - http://www.npr.org/blogs/
“คำท้าราดน้ำแข็ง” (Ice Bucket Challenge – อ้างอิง: http://www.npr.org/2014/
ในปัจจุบัน ทางองค์กรกำลังเผชิญหน้ากับ
“มันเป็นเรื่องที่น่ามหัศจร
เธอกล่าวว่า มันเป็นความรับผิดชอบอันใหญ
“ดูไปแล้ว มันก็เหมือนกับคนที่ถูกลีอต
คุณ Newhouse กล่าวว่า ทางกลุ่มได้เริ่มการปรึกษาห
“มันไม่ใช่เกี่ยวกับการใช้จ
คุณเคน เบอร์เกอร์ (Ken Berger – อ้างอิง: http://
“คุณจะเห็นสถานการณ์ในเรื่อ
ตัวเขาและคนอื่นๆ จำได้ในเรื่อง ที่ว่า มันมีอะไรเกิดขึ้นบ้างกับผู
คุณ Berger กล่าวว่า ไม่ว่าทางองค์กรจะทำการตัดส
คุณแพทริก รูนี่ย์ (Patrick Rooney – อ้างอิง: http://
คุณ Newhouse กล่าวว่า เธอตระหนักทราบดีในเรื่องเห
“ดิฉันได้รับอีเมล์ จากทุกๆ เรื่อง ตั้งแต่การเสนอแนะนำให้ ‘ใช้เงินด้วยวิธีนี้นะ’ จนไปถึงอีเมล์ที่กล่าวว่า ‘ใจเย็นๆ ทำด้วยวิธีที่ถูกต้องเถอะ’ จนถึงผู้คนที่กล่าวว่า ‘ฉันพบวิธีการรักษาโรค ALS ให้หายอย่างเด็ดขาดแล้วนะ เพียงแต่จ่ายเงินให้กับฉัน และฉันก็จะบอกวิธีรักษาโรคน
อย่างไรก็ตาม เธอยอมรับว่า สำหรับบุคคลที่ทำการบริหารอ
**************************
ความคิดเห็นของผู้แปล:
(เชิญแชร์บทความได้ตามสบาย)
เวลานี้ เราจะเห็นเรื่องของการท้ารา
เรื่องแรกที่เห็นคือ เงินบริจาคต่างๆ ที่ผู้มีจิตศรัทธา มอบให้กับองค์กร สิ่งที่ดิฉันได้เห็นนั้น ไม่ใช่แต่เพียงเงินบริจาคเข
องค์กร ALS เอง มีเครือข่ายสาขาอีกเกือบ 40 แห่งทั่วทั้งประเทศ ดังนั้น การประชุมต่างๆ จึงต้องมีความระมัดระวัง รวมทั้งขั้นตอนการอนุมัติทำ
นอกจากนั้น ยังมีองค์กรอีกองค์กรหนึ่ง อย่างเช่น Charity Navigator ซึ่งทำการตรวจสอบความโปร่งใ
เราจะเห็นว่า องค์กรการกุศลใน USA นั้น จะถูกเพ่งเล็งจากหลายองค์กร
การโกงเงินบริจาค มันถึงยาก เนื่องจากว่า ถูกตรวจสอบเยอะ และผู้บริจาคเขาก็อยากเห็นผ
**************************
ถ้าเราจะนำเรื่องการบริจาคใ
ที่แปลกนิดหน่อยคือ “กองทุน ALS” นี้ เพิ่งจัดตั้งขึ้นมา เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2557 นี้เอง (อ้างอิง: http://www.thairath.co.th/
แต่เรื่องการตรวจสอบเพื่อคว
(แม้แต่เคสของ พระองค์ภาเอง ก็ทรงรับการท้าทาย แต่การบริจาคนั้น ทรงมีพระประสงค์ให้ไปอยู่ที
**************************
อยากให้ประชาชนทั่วไป เริ่มเคลื่อนไหว จับตาการให้เงินบริจาคเหล่า
บางท่านยังคิดว่า ไม่มีใครกล้าเอาเงินทำบุญไป
องค์กรการกุศลทุกองค์กร มีค่าใช้จ่ายเช่นกัน เราเรียกเรื่องเหล่านี้ว่า Administrative Expenses หรือค่าใช้จ่ายต่อการบริหาร
คนไทยโดยทั่วไป ก็คุ้นเคยกับการบริจาคเพื่อ
แต่ท่านเคยเห็น องค์กรการกุศล (ส่วนใหญ่) ที่ไหนบ้าง ที่เอางบดุลหรือ Statement มาเปิดเผยให้เห็นถึงความโปร
**************************
มันเหมือนกับการบริจาคเงินท
ถ้าโยงเรื่องนี้มาในการเคลื
เหมือนกับว่า บริจาคแล้ว เท่านั้นเท่านี้ เป็นข่าว ถ่ายรูปทำ Photo Ops เสร็จ ก็ไม่ต้องสนใจว่า เขาเอาเงินที่ท่านบริจาคไปท
**************************
ดังนั้น ควรจะมารณรงค์กันถึงเรื่อง “ความโปร่งใส” เกี่ยวกับ เงินบริจาคกัน คงจะดีไม่น้อย และสร้างมาตรฐานตัวอย่างให้
Happy Friday ค่ะ
Doungchampa Spencer Isenberg
— in Bettles, Alaska.
บทความที่เกี่ยวเนื่อง http://issaracopypaste.blogspot.se/2014/09/als-amyotrophic-lateral-sclerosis.html
No comments:
Post a Comment