Thursday, February 26, 2015

หนังสือ"ความเป็นมาขอคำสยาม ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ" -จิตร ภูมิศักดิ์(ต้องห้าม)

หนังสือ"ความเป็นมาขอคำสยาม ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ" -จิตร ภูมิศักดิ์(ต้องห้าม)

หนึ่งในหนังสือหายาก โดยนักคิดผู้เป็นอัฉริยะที่สุดคนหนึ่งที่สังคมไทยเคยมีมา จิตร ภูมิศักดิ์ หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือเล่มสุดท้ายที่จิตรได้แต่งขึ้นไว้ขณะถูกจำ คุกลาดยาว ต้นฉบับรอดการการทำลายในยุคตุลา-ตุลาด้วยการเก็บฝังดิน แม้ยังเขียนไม่เสร็จสิ้นดี แต่ได้รับการกล่าวขานไว้ว่า เป็นหนึ่งในหนังสือ 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน
สารบัญ
คำนำ
ภาคที่ 1 พื้นฐานทางนิรุกติศาสตร์และประวัติศาสตร์
บทที่ 1 ร่องรอยของ "สยาม" ในปัจจุบัน
บทที่ 2 ชานและชาม
บทที่ 3 ชานและสยาม
บทที่ 4 ร่องรอยของสยามในจารึกพะม่า
บทที่ 5 สฺยามฺ ในจารึกจามปา
บทที่ 6 สฺยํ ในจารึกเขมร
บทที่ 7 สฺยํ และ เสียม
บทที่ 8 จะตามหา สฺยํกุกฺ อย่างไร
บทที่ 9 ชาวเสียมแห่งลุ่มแม่น้ำกก แหล่งอารยธรรมไทยสมัยก่อนยุคสุโขทัย
บทที่ 10 นี่เสียมกุก!
บทที่ 11 สฺยํ ในจารึกสมัยก่อนนครหลวง
บทที่ 12 สยามและอัสสัม
บทที่ 13 โกสามพี และ ลาวเฉียง
บทที่ 14 สยามในความรับรู้ของจีน
บทที่ 15 ที่มาของสยาม สมมุติฐานทางนิรุกติศาสตร์และทางสังคม
บทที่ 16 ที่มาและความหมายของสยามตามความเห็นในอดีต
บทที่ 17 สยาม - ความเป็นมาในภาษาไทย

ภาคที่ 2 ชื่อชนชาติและฐานะทางสังคม
บทที่ 1 ลักษณะสองด้านของชื่อชนชาติ
บทที่ 2 มิลักขะ - กิราต - นิษาท - ทาส และนาคผู้ยืนหยัดประกาศความเป็นคน
บทที่ 3 วิญญาณมนุษย์
บทที่ 4 ความสัมพันธ์ทางสังคมกับชื่อชนชาติ
บทที่ 5 ข่า และปรัชญาแห่งความเป็นทาส
บทที่ 6 ลาวเทิง - ประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู้
บทที่ 7 ไท-ไต ชื่อที่ยืนยันความเป็นคน
บทที่ 8 ไท-ไต และคนเมือง ปฏิกริยาตอบโต้ของชาติไต
บทที่ 9 วิวัฒนาการของคำว่า ไท และ ลาว
บทที่ 10 ทางโน้มแห่งความหมายของคำ "สยาม"
ภาคผนวก ข้อเท็จจริงว่าด้วยชนชาติขอม
http://www.mediafire.com/…/หนังสือ_ความเป็นมาของคำสยาม_ไทย_…

No comments:

Post a Comment